Korkankru

โครงการจัดการความรู้และขับเคลื่อนระบบการศึกษาและการเรียนรู้

การศึกษาไทยในอุ้งมือของรัฐ เมื่ออำนาจนิยมไม่ยอมให้คนตั้งคำถาม

“ตั้งแต่โดนคดีมา ขึ้นศาลไปไม่รู้แล้วกี่รอบแล้ว มีช่วงหนึ่งผมทำงานพาร์ทไทม์ก็ต้องลางานก็เสียงานเสียการ เสียสุขภาพจิตด้วย” คือปากคำของ “เท็น” - ยศสุนทร รัตตประดิษฐ์ นักศึกษาสาขา Media Arts and Design คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้มีคดีความติดตัว เพราะทำกิจกรรมทางการเมือง ซึ่งถือเป็นสถานการณ์รุนแรงที่เกิดกับคนที่ยังไม่จบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ในประเทศที่มีค่านิยมว่านักเรียน/นักศึกษาควรมีหน้าที่เรียนอย่างเดียว อย่ายุ่งกับการเมือง...

ความเหลื่อมล้ำกับฝันที่ไม่เป็นจริงระบบการศึกษาที่คน “ไม่เท่ากัน”

“ก่อนหน้านี้หนูอยากทำงานมากกว่าเรียน กลัวพ่อแม่จะส่งเราไม่ไหว ตอน ม.1 ก็ถามพ่อแม่ว่าจะส่งหนูไหวเหรอ มันต้องเสียค่าเทอม พ่อแม่บอกว่าไหว ยังไงก็ไหว เราก็เลยเรียน แล้วก็ช่วยพ่อแม่ทำงานไปด้วย” “หนูฝันอยากเป็นเจ้าของธุรกิจของตัวเอง ฟีลแบบพิมรี่พายขายทุกอย่าง เพราะหนูชอบขาย ชอบพูดแต่หนูไม่สามารถเป็นเจ้าของธุรกิจได้ ต้องทำอาชีพที่เป็นลูกจ้างอย่างเดียว อย่างขายเสื้อผ้าถ้าเป็นกิจการใหญ่ มีหน้าร้าน ต้องเสียภาษี แบบนี้ไม่ได้” คำพูดแรกเป็นของเด็กชายอดทน อุดทา...

“โรงเรียนของเราไม่น่าอยู่” ระบบการศึกษาที่สร้างทุกข์ให้ทั้งผู้เรียนและผู้สอน

“โรงเรียนของเราน่าอยู่ คุณครูใจดีทุกคน เด็กๆ ก็ไม่ซุกซน พวกเราทุกคนชอบมาโรงเรียน~”                 ข้อความที่อ่านแล้วหลายคนคงฮัมเป็นทำนองเพลงได้ ในฐานะเพลงเด็กที่โรงเรียนมักเปิดให้นักเรียนฟังอยู่บ่อยครั้ง                 เพลง “โรงเรียนของเราน่าอยู่” กลับมาเป็นที่พูดถึงในวงกว้างอีกครั้งช่วงประมาณ 2 ปีก่อน เมื่อนิสิตจุฬาฯ ทำวิทยานิพนธ์โดยหยิบยกปัญหาในโรงเรียนมาบอกเล่าผ่านเพลงดัดแปลงใหม่ในชื่อ “โรงเรียนเขาว่าน่าอยู่” มีเนื้อเพลงบางส่วนว่า “โรงเรียนเขาว่าน่าอยู่ แต่พวกหนูไม่ค่อยชอบไป มีคนทำร้ายจิตใจ...

“ค่านิยม” กับทิศทางการศึกษา เมื่อระบบก้าวไม่ทันความคิดของคนรุ่นใหม่

“ตั้งใจเรียนนะลูก โตขึ้นไปจะได้เป็นเจ้าคนนายคน” “เรียนจบสูงๆ จะได้ประสบความสำเร็จในชีวิต” คำสอนที่สะท้อนค่านิยมของสังคมไทยที่มีต่อระบบการศึกษา เชื่อว่าความสำเร็จทางการเรียนเป็นเครื่องมือช่วยเลื่อนระดับทางชนชั้น  “ลูกฉันจะมีโอกาสได้เป็นเจ้าคนนายคน” หรือมีความสำเร็จ หากพากเพียรเรียนหนังสือไปให้ได้สูงสุด                 แต่คำถามคือคำว่า “ค่านิยมทางการศึกษา” นั้นหมายความว่าอย่างไร แต่ละคนเข้าใจตรงกันไหม  ที่แน่ๆ คือมันมีอำนาจชี้นำให้เราตัดสินใจลงมือทำตามอย่างใดอย่างหนึ่ง ด้วยเชื่อว่าน่าจะถูกต้อง แต่ “ถูกต้อง” จริงๆ หรือไม่...

การเรียนรู้จบในโรงเรียน หรือแท้จริงอยู่ในทุกที่และตลอดชีวิต?

กระแสธารของโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ข้อมูลเคลื่อนไหลผ่านตาทุกวินาที ทั้งซับซ้อนและคาดเดาไม่ได้ ห้องเรียนที่ถูกแช่แข็งด้วยการสอนแบบเดิมๆ จึงหยุดนิ่งและกลายเป็นถอยหลัง สวนทางกับโลกอนาคตที่หมุนไปข้างหน้าอย่างเห็นได้ชัด ทั้งตำราที่อัดแน่นด้วยเนื้อหาตามบรรทัดของหลักสูตร นโยบายที่ยึดเวลาและการออกแบบการสอนไปจากครู การสอบที่เน้นท่องจำเพื่อเอาเกรดมากกว่าการนำไปใช้ในชีวิตจริง ทำให้เราต้องตั้งคำถามว่าแท้จริงแล้วหน้าที่ของระบบการศึกษาคืออะไร และยังทำให้มนุษย์คนหนึ่งเกิดการเรียนรู้ได้จริงหรือไม่? เมื่อชีวิตจริงไม่ได้อยู่ในตำรา ห้องเรียน หรือจากปากครู แต่กระจายข้ามขอบรั้วโรงเรียนไปอยู่ในที่ต่างๆ รอบตัวเรา ทั้งใกล้และไกล แท้จริงแล้วการเรียนรู้คืออะไร และทำไมเราต้อง “เรียนรู้ตลอดชีวิต” เกรดที่ได้...

“ลอง เรียน รู้” เส้นทางสู่การค้นพบตัวเองของเด็กวัยเรียน (รู้)

ภายในงานเสวนา “ส่งเสียงถึง (ว่าที่) นายก: เรื่องมันเศร้าขอเล่านิดนึง” จัดโดย InsKru พื้นที่แบ่งปันไอเดียการเรียนรู้ของคุณครูทั่วประเทศ เมื่อเดือนเมษายน 2566 “โจ๊ก” - ณัฏฐเมธร์ ดุลคนิต ศึกษานิเทศก์ (ศน.) ชำนาญการ สะท้อนความคาดหวังของนักเรียนกับภาคส่วนอื่นๆ ว่าไม่สอดคล้องกัน “ถ้าถามว่าหลักสูตรควรจะเน้นอะไร ให้เลือกเน้นระหว่าง...